เทคนิคการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่21

โครงงาน STEAM คืออะไร?

กระบวนการจัดการเรียนรู้บูรณาการความรู้และทักษะจำเป็นในการแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง

Read More »

ท้าทายให้สื่อสาร มีชิ้นงานจากการปฏิบัติการทางภาษา บอกไว้แล้วในกิจกรรมนี้เลย..

Active Learning เป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป (Bonwell, 1991) วิธีการจัดการเรียนรู้นั้น จะนำเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม โดยจะกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน ลักษณะของ Active Learning ไชยยศ เรืองสุวรรณ (มปป.) ได้อธิบายถึงลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ไว้ดังนี้ 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมองได้แก่การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพนัธ์ร่วมกันและร่วมมือกัน มากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ใหผู้เรียนอ่าน พูด ฟังคิดอย่างลุ่มลึกผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดข้้นสูง 8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง 10. …

Read More »

ผ่านกิจกรรมสนุกและท้าทาย 4 เล่มนี้บอกเลย..

Active Learning เป็นแนวคิดการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป (Bonwell, 1991) วิธีการจัดการเรียนรู้นั้น จะนำเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม โดยจะกระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน ลักษณะของ Active Learning ไชยยศ เรืองสุวรรณ (มปป.) ได้อธิบายถึงลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ไว้ดังนี้ 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมองได้แก่การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสุด 3. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพนัธ์ร่วมกันและร่วมมือกัน มากกว่าการแข่งขัน 5. ผู้เรียนได้เรียนรู้ความรับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ใหผู้เรียนอ่าน พูด ฟังคิดอย่างลุ่มลึกผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิดข้้นสูง 8. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลักการสู่การสร้างความคิดรวบยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง 10. …

Read More »

ฝึกคิดวิเคราะห์ คิดเป็นระบบ คิดแก้ปัญหา มีกิจกรรมตัวอย่างแบบนี้..

เพียเจต์กล่าวว่า (Piaget,1972:1-12) “มนุษย์จะมีการพัฒนาเชาวน์ปัญญาไปตามลำดับขั้น จากการมีปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการได้รับการถ่ายทอดความรู้ทางสังคม วุฒิภาวะ และกระบวนการพัฒนาความสมดุลของบุคคลนั้น” ในการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาสมองนั้น การจัดกระบวนการเรียนรู้จึงควรได้รับการออกแบบอย่างหลากหลาย เพื่อสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียน เสริมความสนใจของผู้เรียน จนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ คิดเป็น ใชัความรู้และทักษะสร้างอาชีพ พร้อมที่จะเผชิญกับชีวิตภายหน้าได้ด้วยตนเอง หนังสือ 8 รายการนี้ ได้รับการออกแบบและทดลองใช้กับผู้เรียน โดยใช้เสริมหลักสูตร นำเข้าสู่บทเรียน ระหว่างเรียน ทดสอบ หรือจัดกิจกรรมค่าย/ฐานให้สนุกและท้าทาย จึงมีความหมายในการสร้างเจตคติและแรงจูงใจแก่ผู้เรียนได้เป็นอย่างดี คลิกที่ชื่อหนังสือดูตัวอย่างเพิ่ม 1.เกมคณิตศาสตร์ มี2รายการคือ หนังสือ Thinking Map Thinking Math หนังสือเล่มละ 160.- (หนังสือพร้อมไฟล์pdf ชุดละ320.-) หนังสือ ฝึกอ่านฝึกคิดพิชิตโจทย์หนังสือเล่มละ 160.- (หนังสือพร้อมไฟล์pdf ชุดละ320.-) 2.เกมภาษาอังกฤษ มี3 รายการคือ Easy Critical Reading หนังสือเล่มละ 195.- …

Read More »

ตัวอย่างกิจกรรมฝึกทักษะการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง .. จัดให้สนุกแบบนี้

เพียเจต์กล่าวว่า (Piaget,1972:1-12) “มนุษย์จะมีการพัฒนาเชาวน์ปัญญาไปตามลำดับขั้น จากการมีปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับการคิดเชิงตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทั้งการได้รับการถ่ายทอดความรู้ทางสังคม วุฒิภาวะ และกระบวนการพัฒนาความสมดุลของบุคคลนั้น” ในการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองนั้น การจัดกระบวนการเรียนรู้จึงควรได้รับการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่งของ หรือ ข้อมูลต่างๆที่เป็นของจริง มีความสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถจัดกระทำ ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ ทดลอง หรือลองผิดลองถูกกับสิ่งนั้นๆ จนเกิดเป็นความรู้ความเข้าใจขึ้น ครูมีบทบาทคือทำหน้าที่ช่วยสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดแก่ผู้เรียน จัดเตรียมกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตรงกับความสนใจของผู้เรียน ดำเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามพัฒนาการของผู้เรียน ให้คำปรึกษาแนะนำทั้งทางด้านวิชาการและสังคมแก่ผู้เรียน ดูแลให้ความช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหา และประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน นอกจากนั้นครูยังต้องมีความเป็นประชาธิปไตยและมีเหตุผลในการสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วย เนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองนี้ ขึ้นกับความสนใจและการสร้างความหมายที่แตกต่างกันของบุคคล ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจึงมีลักษณะหลากหลาย ดังนั้น การประเมินผลควรใช้วิธีการหลากหลาย เช่น การประเมินจากเพื่อน แฟ้มผลงาน (portfolio) และการประเมินตนเองด้วย หรือการวัดผลที่ซับซ้อนขี้นตามบริบทก็ได้เช่นกัน ตัวอย่างการจัดกิจกรรมฝึกทักษะการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มีดังนี้ คลิกที่ชื่อหนังสือ เพื่อดูตัวอย่างเนื้อหาเพิ่มเติม 1.ชุดกิจกรรมเสริมทักษะการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง ป.1-6 จัดกระบวนการเป็นขั้นเป็นตอนให้เด็กได้คิด ค้นให้พบในสิ่งที่อยากรู้ แล้วลงมือปฏิบัติ …

Read More »

ใช้กิจกรรมการเขียนอิสระฝึกทักษะการนำตนเองให้เด็กได้อย่างไร?

การทำงานเป็นระบบ  จำเป็นต้องใช้สมองในการคิด วางแผนและลงมือปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ จึงควรพัฒนาสมองอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ โดยเฉพาะเยาวชนในวัยเรียนควรได้รับการฝึกทักษะอย่างต่อเนื่องและหลากหลายให้คิดเป็น สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ และนำตนเองได้เพื่อก้าวเผชิญกับโลกในชีวิตจริง การเรียนรู้การนำตนเอง (self-directed learning) เป็นทักษะที่สามารถฝึกได้จากความสนใจที่ได้รับการกระตุ้นหรือสนับสนุนให้เกิดความอยากรู้ อยากเห็น อยากเรียน โดยลงมือคิด-วางแผน-ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อสู่ความสำเร็จ จนสามารถนำตนเองไปได้ตลอดชีวิต กับทั้งสามารถเผื่อแผ่และช่วยเหลือผู้อื่นได้อย่างมีความสุขอีกด้วย กิจกรรมการเขียนอิสระ  เป็นหนึ่งในหลายกิจกรรมที่ใช้ฝึกเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้การนำตนเอง เป็นกิจกรรมการเขียนสร้างสรรค์ที่สามารถจัดมาบูรณาการได้ในหลากหลายกลุ่มสาระการเรียนรู้ แทรกในกระบวนการเรียนรู้เพื่อเพิ่มบรรยากาศที่ท้าทาย ตามระดับชั้นของผู้เรียน ตัวอย่างกิจกรรมการเขียนอิสระสำหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่1-3 ที่มาของภาพ สมุดเขียนอิสระ การจัดกิจกรรมการเขียนอิสระ  ดร.อัจฉรา ฉายวิวัฒน์ได้เสนอแนวปฏิบัติ คือ 1.การเขียนอิสระ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดจินตนาการ อยากสร้างสรรค์ด้วยตนเอง และอยากเขียนออกมา 2.การเขียนอิสระ ให้ผู้เรียนเขียนในสิ่งที่ตนเองคิดอยู่ในสมอง ฝึกให้คิดเอง แล้วเปลี่ยนความคิดออกมาเป็นภาษาเขียน 3.การเขียนอิสระ ปล่อยให้ผู้เรียนผ่อนคลาย มีอิสระในขณะที่เขียน จึงไม่ควรมีรูปแบบในการเขียน 4.การเขียนอิสระ อาจให้ผู้เรียนเริ่มจากการเขียนสั้นๆ วาดภาพประกอบให้ผู้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียน/ผู้เรียน อาจให้กำลังใจ แล้วค่อยๆเขียนให้มากขึ้น 5.การเขียนอิสระ ควรได้รับการตรวจที่มิต้องแก้ไข แต่อาจสอนเพิ่ม หรือให้คำแนะนำภายหลัง 6.การเขียนอิสระ ผู้จัดกิจกรรม/ครู เป็นผู้ที่ท้าทายความคิดของผู้เขียน/ผู้เรียนเท่านั้น …

Read More »

เครื่องมือการคิด(Thinking Tools) : Bubble Map

เครื่องมือการคิด(Thinking Tools) สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นเครื่องมือสำคัญในการฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ

Read More »